ข้อมูลของบทความนี้จะเกี่ยวกับสรุปฟิสิกส์ หากคุณกำลังเรียนรู้เกี่ยวกับสรุปฟิสิกส์มาเรียนรู้เกี่ยวกับหัวข้อสรุปฟิสิกส์ในโพสต์ฟิสิกส์ ม.5 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต ep. 10 (สรุปเตรียมสอบ)นี้.
Table of Contents
ข้อมูลทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับสรุปฟิสิกส์ในฟิสิกส์ ม.5 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต ep. 10 (สรุปเตรียมสอบ)ที่สมบูรณ์ที่สุด
ที่เว็บไซต์KNSKคุณสามารถอัปเดตข้อมูลอื่น ๆ นอกเหนือจากสรุปฟิสิกส์สำหรับข้อมูลที่มีค่ามากขึ้นสำหรับคุณ ที่เพจKNSK เราอัปเดตข่าวสารใหม่และแม่นยำให้คุณทุกวัน, ด้วยความหวังว่าจะมอบคุณค่าที่ถูกต้องที่สุดให้กับผู้ใช้ ช่วยให้ผู้ใช้อัพเดทข่าวสารออนไลน์แบบละเอียดที่สุด.
เนื้อหาเกี่ยวกับหัวข้อสรุปฟิสิกส์
ฝากติดตามช่อง Physics by Teacher Note และ fb Fanpage Teacher Note Wor 21…. สรุปการเตรียมสอบ อัพโหลดเอกสารจากลิงค์
รูปภาพที่เกี่ยวข้องกับเอกสารเกี่ยวกับสรุปฟิสิกส์

นอกจากอ่านข่าวเกี่ยวกับบทความนี้แล้ว ฟิสิกส์ ม.5 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต ep. 10 (สรุปเตรียมสอบ) คุณสามารถค้นหาเนื้อหาเพิ่มเติมด้านล่าง
คำแนะนำเล็กน้อยที่เกี่ยวข้องกับสรุปฟิสิกส์
#ฟสกส #ม5 #บทท #ไฟฟาสถต #สรปเตรยมสอบ.
ฟิสิกส์,ม.5,บทที่ 13,ไฟฟ้าสถิต,ep.10,สรุปเตรียมสอบ,ม5เทอม2,ครูโน้ต,ไฟฟ้าสถิต ม.5.
ฟิสิกส์ ม.5 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต ep. 10 (สรุปเตรียมสอบ).
สรุปฟิสิกส์.
เราหวังว่าข้อมูลที่เราให้ไว้จะเป็นประโยชน์กับคุณ ขอบคุณที่ติดตามสรุปฟิสิกส์ข่าวของเรา
ชอบเรื่องไฟฟ้าสถิตค่ะ นำไปผลิต เครื่องใช้ไฟฟ้าเช่น เครื่องถ่ายเอกสารเครื่องพ่นสี และยังป้องกันเรื่องไฟฟ้าลัดวงจร กระแสไฟฟ้ารั่วไหลเป็นต้น
นางสาว อรปรียา มูลสาร เลขที่ 37 ม.5/1
ชอบเรื่องไฟฟ้าสถิตครับ
ประโยชน์ที่ได้คือการต่อสายดินเพื่อเวลา ไฟรั่วไฟก็จะไม่เป็นอันตรายต่อตัวเราครับ
นายธนกฤต กั้วะห้วยขวาง ม.5/1 เลขที่ 5
ชอบเรื่องไฟฟ้าสถิต เพราะว่ามีประโยชน์มากๆ
-ช่วยป้องกันการถูกไฟดูดเมื่อมีไฟฟ้ารั่ว
-ช่วยให้อุปกรณ์ไฟฟ้า
-ช่วยป้องกันไฟฟ้าลัดวงจร ไม่เสื่อมอายุไวไป
นางสาววรฤทัย เนียมหมวด เลขที่ 39 ม.5/2
ชอบเรื่องไฟฟ้าสถิต
1ช่วยป้องกันเรื่องไฟดูดเมื่อมีไฟฟ้ารั่ว
2ช่วยป้องกันไฟฟ้าลัดวงจร
3ช่วยเรื่องอุปกรณ์ ไม่ให้เสียไว
น.ส ปัญญาภรณ์ มีจั่นเพชร เลขที่24 ม.5/1
ชอบเรื่อง “อิเล็กโทรสโคป”
สามารถนำความรู้ที่ได้ไปตรวจชนิดของประจุไฟฟ้า ตรวจหาประจุไฟฟ้า วัตถุเป็นตัวนำไฟฟ้า หรือฉนวนไฟฟ้า
นางสาวสุชาดา สามฉิมโฉม ม.5/1 เลขที่ 32
ชอบเรื่องไฟฟ้าสถิต
สายดิน นำไปใช้ประโยชน์เพื่อให้กระเเสไฟฟ้าไม่เกิดการรั่วไหล ป้องกันอุบัติเหตุที่สามารถเกิดขึ้นได้จากการโดนไฟฟ้าช็อตหรือไฟฟ้าลัดวงจร
น.ส.ยุพาพรรณ จันทร์อ่ำ เลขที่28 ม.5/1
ชอบเรื่องไฟฟ้าสถิต สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย
นางสาว ธันยพร หมื่นจง ม.5/2 เลขที่21
ชอบเรื่องไฟฟ้าสถิต เพราะว่ามีประโยชน์มากๆ
1.ช่วยป้องกันการถูกไฟดูดเมื่อมีไฟฟ้ารั่ว
2.ช่วยป้องกันไฟฟ้าลัดวงจร
3.ช่วยให้อุปกรณ์ไฟฟ้า ไม่เสื่อมอายุไวไป
นายเจษฎาภรณ์ แซ่จึง ม.5/2 เลขที่ 1
ชอบเรื่องไฟฟ้าสถิต เพราะเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่น่าสนใจ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง
นางสาวสิริโสภา อยู่อินทร์ เลขที่34 เลขที่34
ชอบเรื่องไฟฟ้าสถิต
เพราะนำไปใช้ในชีวิตได้ เครื่องถ่ายเอกสารเป็นอุปกรณ์ถ่ายสำเนาสิ่งพิมพ์ที่เป็นอักษร หรือภาพซึ่งเป็นเอกสารต้นฉบับ
นางสาวธัญสินี ชัยเหี้ยม ม.5/2 เลขที่20
ชอบเรื่อง-ไฟฟ้าสถิต-เพราะได้รู้ประโยชน์ของสายดินช่วยป้องกันไฟฟ้ารั่วไหลมาถึงคนและป้องกันการเกิดไฟฟ้ารัดวงจร
น.ส.ปณิศา เพชรประดับ เลขที่24 ม.5/2
ชอบเรื่องตัวเก็บประจุไฟฟ้า เพราะ มันอยู่ใชีวิตประจำวันของเรา เวลาไฟรั่ว หรือชำรุดเราจะนับไปใช้ได้
นาย ธีรวัฒน์ ล่าบ้านหลวง ม.5/2 เลขที่9
ชอบเรื่องไฟฟ้าสถิต
เพราะได้ความรู้เกี่ยวกับการนำสายดินมาใช้เพื่อป้องกันการเกิดไฟรั่วจากเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆไม่ให้ไฟฟ้าผ่านร่างกายเราแต่ผ่านสายดินแทน
นาย ศิวกร สามศรียา ม.5/1 เลขที่ 13
ชอบเรื่องตัวเก็บประจุ เพราะช่วยให้รู้ว่าไฟฟ้าเกิดการรั่วหรือไม่ หรือไฟฟ้ารัดวงจร และรู้ว่าทำไมจึงต้องต่อสายดินเพื่อป้องกัน
นายจักรภัทร์ เพชรแอว ม.5/1 เลขที่ 2
ชอบเรื่องไฟฟ้าสถิต เพราะได้ความรู้เกี่ยวกับการนำสายดินมาใช้ป้องกันไฟฟ้ารั่วจากเครื่องใช้ไฟฟ้าเพื่อไม่ให้ไฟฟ้าผ่านร่างกายเรา
นายอภิรักษ์ เหล่าสิม ม.5/1 เลขที่ 15
ชอบเรื่องตัวเก็บประจุไฟฟ้า เพราะสามารถนำมาก็ประโยชน์ได้ เช่น การป้องกันไฟฟ้ารั่ว ไฟฟ้าลัดวงจร
นางสาวญาณภัทร อาจน้อย ม.5/1 เลขที่ 20
ชอบเรื่อง อิเล็กโทรสโคป เพราะเราจะได้รู้เกี่ยวกับอุปกรณ์ต่างๆนำไปใช้ประโยชน์ในการตรวจสอบประจุไฟฟ้าว่ามีหรือไม่มี เเต่ไม่สามารถบอกได้ว่าประจุนั้นเป็นลบหรือเป็นบวก
นายธนกร อินทร ม.5/2 เลขที่ 6
ชอบเรื่องตัวเก็บประจุไฟฟ้า เพราะได้รู้ว่าโลกเราสามารถรับประจุจากสายดินได้มากมายมหาศาลเพราะโลกเรามีขนาดใหญ่มาก
นางสาวจุตฑามาส ไทรแก้ว เลขที่18 ม.5/1
เรื่องไฟฟ้าสถิต มาใช้เกี่ยวกับการต่อสายดินเพื่อป้องกันอันตรายจากไฟฟ้ารั่วไหล
นายสุธัช วงศ์อารีย์ เลขที่12 ม.5/2
ชอบเรื่องการต่อตัวเก็บประจุ
เพราะ มันอยู่ในชีวิตประจำวัน เเละสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ คือ การกรองไฟดีซีให้เรียบ (Filter) การถ่ายทอดสัญญาณ และเชื่อมโยงระหว่างวงจร (Coupling) การกรองความถี่ (Bypass) การกั้นการไหลของกระแสไฟดีซี (Blocking) เป็นต้น
นางสาวชลธิชา ชีวะธรรมรัตน์ ชั้นม.5/1 เลขที่39
เรื่อง สนามไฟฟ้า
การนำมาใช้ประโยชน์ รถไฟความเร็วสูง – เป็นรถไฟที่มีแม่เหล็กไฟฟ้าติดอยู่ข้างใต้ ซึ่งเคลื่อนที่ไปบนรางที่มีแม่เหล็กไฟฟ้า แม่เหล็กผลักซึ่งกันและกัน ทำให้รถไฟลอยเหนือรางเป็นการลดแรงเสียดทานทำให้รถไฟเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น
นาย จิรายุทธ สร้อยยอดทอง ม.5/2 เลขที่ 5
"เรื่องไฟฟ้าสถิต"
🔌การนำสายดินมาใช้เพื่อป้องกันการเกิดไฟรั่วจากเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆเพื่อไม่ให้เข้าร่างกายของเราแต่ไฟ้ฟ้าจะรั่วไหลลงดินผ่านสายดินแทน
น.ส.สุทธิดา ล่าบ้านหลวง ม.5/2 เลขที่35
คำตอบ
ชอบเรื่องอิเล็กโทรสโคป เพราะว่าสามารถนำไปใช้ประโยนช์เกี่ยวกับการหาประจุของวัตถุที่สนใจได้
นางสาวจุฬาลักษณ์ ทองแท่งใหญ่ 19 5/1
ชอบเรื่องอิเล็กโทรสโคป
•เพราะสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ เช่น คำนวณหาประจุไฟฟ้า เป็นต้น
นางสาว พัชรพร สูงสันเขต ม.5/2 เลขที่ 26
ชอบเรื่องตัวเก็บประจุไฟฟ้า เพราะได้รู้ว่าทำไมจึงต้องต่อสายดิน
ประโยชน์คือ ป้องกันไฟฟ้ารั่วไม่ให้มาโดนเรา
นางสาว มัญชุพร สรงพรมทิพย์ ชั้น5/2 เลขที่29
เรื่องไฟฟ้าสถิต การต่อสายดินเพราะการต่อสายดินนั้นจะทำไม่ให้ไฟที่รั่วไหลซ็อตหรือเป็นอันตรายต่อร่างกายได้
นาย ธีรภัทร ล่าบ้านหลวง เลขที่7 ม.5/2
ชอบเรื่อง การต่อตัวเก็บประจุแบบขนาน
ประโยชน์ที่ได้คือ ธนาคารตัวเก็บประจุถูกนำไปใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตและการแปรรูปต่างๆรวมตัวเก็บประจุเป็นคู่ขนานดังนั้นเพื่อให้ค่าความจุของค่าที่ต้องการตามที่ต้องการโดยการควบคุมการเชื่อมต่อของตัวเก็บประจุที่เชื่อมต่อแบบขนาน ในการชดเชยระบบไฟฟ้า
นางสาวสุภัสสร จิตชัย ชั้นม.5/1 เลขที่ 34.
ชอบเรื่อง "สนามไฟฟ้า" ⚡
สามารถไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้คือการใช้หูฟังในการฟังเพลง เนื่องจากเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าเป็นคลื่นเสียง 🎧
นางสาวสุธีรา บุญรอด ม.5/1 เลขที่33
ชอบเรื่องไฟฟ้าสถิตค่ะ
การต่อสายดิน มันสามารถป้องกันกระแสไฟฟ้าเวลารั่วได้ค่ะ ทำให้เราไม่เจ็บตัว
น.ส.พัทธ์ธีรา ฉ่ำเกตุ เลขที่ 26 ม.5/1
ชอบเรื่องการต่อตัวเก็บประจุ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น การถ่ายทอดสัญญาณ เเละเชื่อมโยงระหว่างวงจร
นางสาววันวิสา ศรีสงวน ม.5/1 เลขที่ 31
ชอบเรื่องการต่อตัวเก็บประจุ เพราะว่าสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น การเชื่อมโยงระหว่างวงจร (Coupling)
นางสาวอลิสา ปิ่นทอง ม.5/1 เลขที่ 38.
ชอบเรื่องไฟฟ้าสถิต เพราะว่าได้ประโยชน์เรื่องไฟฟ้าที่เรียนใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน เช่น ช่วยป้องกันไฟฟ้าลัดวงจร เมื่อมีกระเเสไฟฟ้ารั่วไหล การต่อสายดิน
นางสาวดวงหทัย แซ่ลิ้ม ม.5/1 เลขที่ 21
ชอบเรื่อง อิเล็กโทรสโคป สามารถนำไปตรวจสอบประจุไฟฟ้า
นางสาวอภิชดา สีหนู เลขที่35 ม.5/1
ครูโน้ต ตั้งใจสอนเด็กมากๆเลยครับ อนาคต คศ. 4 แน่เลยครับ
ชอบเรื่อง อิเล็กโทรสโคป มันสามารถนำไปคำนวณหาประจุไฟฟ้าได้
นายณัฐพล หนูมาพร้อม ม.5/2 เลขที่ 8